วันอังคารที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2552

ออกข้อสอบแบบปรนัยพร้อมเฉลย 20 ข้อ

1.การเชื่อมโยงการสื่อสารมีกี่รูปแบบ
ก.1 รูปแบบ
ข.2 รูปแบบ
ค.3 รูปแบบ
4.ไม่มีข้อถูก
2.ชนิดของสัญญาณมีกี่ชนิด
ก.5 ชนิด
ข.6 ชนิด
ค.9 ชนิด
ง.2 ชนิด
3.ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการสื่อสาร
ก.ผู้ส่งข่าวสาร (Sender)
ข.ข้อมูลข่าวสาร (Message)
ค.ผู้รับข่าวสาร (Receivers)
ง.ผู้แสงดวามคิดเห็น
4.point to point line คืออะไร
ก.การเชื่อมต่อแบบขนาน
ข.การเชื่อมต่อแบบอนุกรม
ค.การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด
ค.ไม่มีข้อถูก
5.สัญญาณมีกี่ชนิด
ก. 3ชนิด
ข. 4 ชนิด
ค. 5 ชนิด
ง. 2 ชนิด
6.การส่งข้อมูลแบบ digital คืออะไร
ก.การส่งข้อมูลนับความเร็วของบิตโดยนับช่วง 1 วินาที
ข.การส่งข้อมูลนับความเร็วของบิตโดยนับช่วง 1 นาที
ค.การส่งข้อมูลนับความเร็วของบิตโดยนับช่วง 1 ชั่วโมง
ง.การส่งข้อมูลนับความเร็วของบิตโดยนับช่วง 1 วัน
7.องค์ประกอบของการสื่อสารมีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท
ข. 3ประเภท
ค. 5ประเภท
ง . 6ประเภท
8.เครือข่ายคอมพิวเตอร์คืออะไร
ก.เครือยข่ายคอมพิวเตอร์ที่ตั้งแต่ 6 เครื่องขึ้นไป
ข.เครือยข่ายคอมพิวเตอร์ที่ตั้งแต่ 10 เครื่องขึ้นไป
ค.เครือยข่ายคอมพิวเตอร์ที่ตั้งแต่ 20 เครื่องขึ้นไป
ง.เครือยข่ายคอมพิวเตอร์ที่ตั้งแต่ 2 เครื่องขึ้นไป
9.โทรคมนาคมหมายถึงอะไร
ก.การติต่อสื่อสาร
ข.การบริการขนส่ง
ค.การส่งจดหมาย
ง.ไม่มีข้อถูก
10.โทรคมนาคมมีกี่ประเภท
ก.1ประเภท
ข.2ประเภท
ค.3ประเภท
ง.4ประเภท
11.กาารสื่อสารข้อมูลหมายถึงอะไร
ก.การโอนหรือแลกเปลี่ยน
ข.การประมวลผล
ค.การรับข้อมูล
ง.ถูกทุกข้อ
12ข่ายการสื่อสารข้อมูลคืออะไร
ก.การถอดรหัส
ข.การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศ
ค.การเข้ารหัส
ง.ช่องสัญญาณ
13.ข้อไหนไม่ใช่องค์ประกอบพิ้นฐานของการสื่อสารข้อมูล
ก.หน่วยรับข้อมูล
ข.ช่องทางการส่งข้อมูล
ค.หน่วยรับข้อมูล
ง.สัญญาณครบถ้วน
14.การสื่อสารแบบอนาล็อกและดิจิตอลแบบไหนทันสมัยกว่า
ก.อนาล็อก
ข.ดิจิตอล
ค.ทันสมัยเท่ากัน
ง.มีแบบที่ใหม่กว่าทั้ง 2แบบ
15.(Multipoint or Multidrop) คือการเชื่อมต่อแบบไหน
ก.เชื่อมต่อแบบจุดเดียว
ข.เชือมต่อแบบจุดต่อจุด
ค.เชื่อมต่อแบบหลายจุด
ง.ไม่มีข้อถูกล
16.Message คืออะไร
ก.ผู้รับข้อมูล
ข.ช่องทางการสื่อสาร
ค.ข้อมูลข่าวสาร
ง.ไม่มีข้อถูก
17.computer network คืออะไร
ก.ระบบคมนาคม
ข.สื่อสารข้อมูล
ค.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ง.ไม่มีข้อถูก
18.(Receivers) คืออะไร
ก.ผู้ส่งข้อมูล
ข.ข้อมูลข่าวสาร
ค.ผู้รับข้อมูล
ง.ผิดทุกข้อ
19.(Media) คืออะไร
ก.ช่องทางในการสื่อสาร
ข.ผู้รับข่าวสาร
ค.ผู้ส่งข่าวสาร
ง.ข้อมูลข่าวสาร
20.(Switched Network) คืออะไร
ก.การเชื่อต่อแบบสลับช่องทางการสื่อสาร
ข.การเชื่อมต่อแบบทางเดียว
ค.การเชื่อมต่อแบบ หลายทาง
ค.ผิดทุกข้อ
...........................ขอให้โชคดีนะจ๊ะ ^+^.....................................
.....*๐*..............-.-....*..*............*-..-.......-*.-
เฉลย
1.ค
2.ง
3.ง
4.ค
5.ง
6.ก
7.ค
8.ง
9.ง
10.ข
11.ก
12.ข
13.ข
14.ข
15.ค
16.ค
17ค
18.ค
19.ก
20.ก

การเชื่อมโยงการสื่อสาร

การเชื่อมโยงการสื่อสาร
มี 3 รูปแบบ
คือ......................
1. การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด (Point to Point Line)
เป็นการเชื่อมต่อแบบพื้นฐาน โดยต่อจากอุปกรณ์รับหรือส่ง 2 ชุด
2. การเชื่อมต่อแบบหลายจุด (Multipoint or Multidrop)
เนื่องจากค่าเช่าช่องทางในการส่งผ่านข้อมูลต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง
3. การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสลับช่องทางการสื่อสาร (Switched Network)
จากรูปแบบการเชื่อมต่อที่เป็นแบบจุดซึ่งต้องต่อสายสื่อสารไว้ตลอดเวล

การ multiplex

SDH เป็นเทคโนโลยีในการ Multiplex สัญญาณรูปแบบใหม่
ที่เพิ่มความคล่องตัวในการ multiplex/demultiplex สัญญาณให้ทำได้ง่ายขึ้น ต่างจากระบบเดิมคือ PDH ซึ่งต้องทำการ multiplex เป็น step หลายๆขั้นตอนจากความเร็วต่ำไปสู่ความเร็วสูง กล่าวคือ ถ้าต้องการ multiplex สัญญาณ 2 Mbps ไปเป็นสัญญาณ 140 Mbps ก็ต้อง multiplex จาก 2->8->34->140 สามขั้นตอน หรือในทางกลับกัน ถ้าเราได้รับสัญญาณ 140 Mbps มาและต้องการถอดเอาสัญญาณ 2 Mbps ออกมา เราจะถอดตรงๆไม่ได้ต้อง demultiplex 3 ขั้นตอนเช่นกัน
ในระบบ SDH ปัญหาลักษระนี้จะไม่เกิดขึ้น เนื่องจากเราสามารถ multiplex สัญญาณ 2 Mbps ไปเป็น 155 Mbps ได้โดยตรง ในทางกลับกันเมื่อเราได้รับสัญญาณ 155 Mbps มาก็สามารถถอดเอาสัญญาณ 2 Mbps ออกมาได้ทันทีเช่นกัน ทำให้การทำงานง่ายขึ้น นอกจากนี้ SDH ยังรองรับสัญญาณได้หลายระดับพร้อมกัน กล่าวคือเราสามารถ multiplex สัญญาณ 1.5,2,6,8,34,45,140 ไปเป็น 155 Mbps ได้โดยตรง นอกจากนี้ SDH ถูกออกแบบมาเพื่อใช้กับการสื่อสารทางแสงทำให้สามารถส่งสัญญาณที่ความเร็วสูงมากๆเช่น STM-1 (155Mbps), STM-4(622Mbps), STM-16, STM-64 เป็นต้น ไปบนสาย fiber optic คู่เดียว เป็นการสะดวกและลดต้นทุนในส่วนของสาย fiber optic ด้วย

การ modulate คืออะไร

การมอดูเลตสัญญาณ (Signal Modulation)


เมื่อต้องการจะส่งสัญญาณเสียงหรือข้อมูลผ่านช่องทางการสื่อสาร ต้องอาศัยพลังงาน ไฟฟ้าช่วยพาสัญญาณเหล่านั้นให้เคลื่อนย้าย
จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ขั้นตอนในการเพิ่มพลังงานไฟฟ้าดังกล่าว เรียกว่า การมอดูเลต (Modulation) พลังงานไฟฟ้า
ซึ่งมีความถี่สูงและคงที่ รวมทั้งมีแอมปลิจูด (ขนาด) สูงด้วยนั้นเราเรียกว่า สัญญาณคลื่นพาห์ (Signal Carrier)
อุปกรณ์สำหรับมอดูเลตสัญญาณ (Modulator) จะสร้างสัญญาณคลื่นพาห์และรวมเข้ากับสัญญาณข้อมูลเพื่อให้สัญญาณ
มีความแรงพอ ที่จะส่งผ่านสื่อกลางไปยังอีกจุดหนึ่งที่อยู่ไกลออกไปได้ และเมื่อถึงปลายทางก็จะมีอุปกรณ์ซึ่งทำหน้าที่แยก
สัญญาณคลื่นพาห ์ออกให้เหลือเพียงสัญญาณข้อมูล เราเรียกวิธีการแยกสัญญาณนี้ว่าการมอดูเลต (Demodulation)

ชนิดของสัญญาณ

ชนิดของสัญญาณข้อมูล
1. สัญญาณแอนะล็อก (analog signal)

เฮิรตซ์ (hertz) คือ หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนะล็อก วิธีวัด

ความถี่จะนับจำนวนรอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที

2. สัญญาณดิจิทัล (digital signal)

Bit rate เป็นอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิทัล วิธีวัดความเร็วจะนับ

จำนวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที

องค์ประกอบเบื้องต้นของการสื่อสาร

องค์ประกอบของการสื่อสาร ประกอบด้วย
1. ผู้ส่งข่าวสาร (Sender)
2. ข้อมูลข่าวสาร (Message)
3. สื่อในช่องทางการสื่อสาร (Media)
4. ผู้รับข่าวสาร (Receivers)
5. ความเข้าใจและการตอบสนอง

เครือข่ายคอมพิวเตอร์คือ

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (computer network) คือ ระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป

การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน เพราะมีการใช้งานคอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นถึงกัน เพื่อเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น และลดต้นทุนของระบบโดยรวมลง

การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันในเครือข่าย ทำให้ระบบมีขีดความสามารถเพิ่มมากขึ้น การแบ่งการใช้ทรัพยากร เช่น หน่วยประมวลผล, หน่วยความจำ, หน่วยจัดเก็บข้อมูล, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีราคาแพงและไม่สามารถจัดหามาให้ทุกคนได้ เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องกราดภาพ (scanner) ทำให้ลดต้นทุนของระบบลงได้

การสื่อสารข้อมูล

ความหมายของการสือสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) คือการรับส่งโอนย้ายหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่อข้อมูล
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล ประกอบด้วย

ผู้ส่งข้อมูล (Sender)
ผู้รับข้อมูล (Receiver)
ข้อมูล (Data)
สื่อนำข้อมูล (Madium)
โปรโตคอล (Protocol)
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
การส่งสัญญาณข้อมูล หมายถึง การส่งสัญญาณข้อมูลจากเครื่องส่งหรือผู้ส่งผ่านสื่อกลางไปยังเครื่องรับ หรือผู้รับสัญญาณที่ใช้ส่งได้แก่ สัญญาณเคลื่อนแม่เหล็ก
ไฟฟ้า สัญญาณเสียงหรือแสง
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูลมี 8 ประเภท คือ

แบบทิศทางเดียวกันหรือ ซิมเพล็กซ์ (One-way หรือ Simplax)
แบบกึ่งทางคู่หรือครึ่งดูเพล็กซ์ (Half Duplex)
แบบทางคู่หรือดูเพล็กซ์เต็ม (Full Duplex)

การส่งสัญญาณข้อมูลแบบ Simplax

เป็นการส่งข้อมูลทางเดียว คือข้อมูลถูกส่งไปในทิศทางเดียว เช่น สถานีวิทยุกระจายเสียง การแพร่ภาพทางโทรทัศน์

โทรคมนาคมคืออะไร

โทรคมนาคม คือ การขยายขอบเขตของการสื่อสารให้มีผลในระยะไกล ในทางปฏิบัติแล้ว
เรายอมรับว่าเมื่อมีการขยายขอบเขตดังกล่าวแล้ว อะไรบางอย่างอาจต้องมีการสูญเสียไป
ดังนั้นคำว่า 'โทรคมนาคม' นั้น จะรวมถึงรูปแบบทั้งหมด
ของการสื่อสารดั้งเดิมที่มีการดัดแปลงหรือปรับปรุงให้สามารถสื่อสารได้ระยะไกล ซึ่งรวมถึง วิทยุ โทรเล
ข โทรทัศน์ โทรศัพท์ การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์